เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสำหรับครู
วันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลทั้งด้านปริมาณและคุณภาพที่ประมวลจัดหมวดหมู่เปรียบเทียบและวิเคราะห์แล้วสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จำแนกหน้าที่
ออกเป็น 4 ส่วน คือ
1.1หน่วยรับข้อมูล
1.2หน่วยประมวลผลกลาง
1.3หน่วยแสดงผลข้อมูล
1.4หน่วยความจำสำรอง
2.เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
2.มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน
3.ทำให้เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อประเทศไทย
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบันมี 6 รูปแบบ
1.เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ ดาวเทียม
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อข้อมูลบันทึกต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก
3.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ
4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
5.เทคโนโลยที่ใช้ในการจัดทำใส่สำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เช่น ระบบโทรคมนาคม
วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
1.เพื่อทราบถึงรายละเอียดข้อมูล
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานหรือการศึกษา
3.เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
4.เพื่อตรวจสอบข้อมูล
5.เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
Search Engine
หมายถึง เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆในระบบเครือข่าย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
ประเภทของ Search Engine
1.อินเด็กเซอร์ (Indexers) การทำงาน จะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่อยู่กระจัดกระจายบนอินเทอร์เน็ต
ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนกับการสืบค้นข้อมูล
จากรากฐานข้อมูลอื่นๆ
2.ไดแร็กทอรี่ (Directories) การค้นหาข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย โดยข้อมูลต่างๆ จะถูกคัด
แยกออกมาเป็นหมวดหมู่และจัดแบ่งแยกเว็บไซต์ต่างๆออกเป็นประเภทๆ
3.เมตะเสิร์ช (Search Engine) ใช้ได้หลายวิธีการมาช่วยในการค้นคว้าข้อมูล ดดยจะรับคำสั่งค้นหาจาก
เราแล้วส่งต่อไปยังเว็บไซต์
ประโยชน์ของ Search Engine
1.ใช้ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง
2.ใช้ค้นหาข้อมูลแบบเจาะลึก
เทคนิคการสืบค้นข้อมูล
1.บีบประเด็นให้แคบลง
2.การใช้คำที่ใกล้เคียง
3.การใช้คำหลัก
4.หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข
5.การใช้เครื่องหมายบวกและลบ
6.หลีกเลี่ยงภาษาพูด
7.ใช้ Advanced Search
การสืบค้นโดยใช้ตรรกบูลีน
เป็นการสืบค้นโดยใช้ตัวเชื่อม คือ
-AND เชื่อมเพื่อกำจัดความให้แคบลงด้วยการวาง AND ไว้ระหว่างคำ 2 คำ หรือ การไม่ใส่ตัวเชื่อมใดๆระหว่างคำในโปรแกรม Innopac จะมีความหมายเช่นเดียวกัน เช่น การค้นหาด้วย lobor and american ได้ผลเช่นเดียวกับ lobor american
-OR เชื่อมเพื่อขยายการค้นหาไปยังคำอื่นๆที่กำหนดหรือต้องการผลการค้นากทั้ง 2 คำ เช่น digital
collecton or digitall library
-NOT เชื่อมเพื่อำกัดการค้นหาให้แคบลง เช่น unions not credit not mcretury
ลำดับการค้นหาที่มีการใช้คำเชื่อมต่อ
1.ระบบะค้นคำที่อยู่ในวงเล็บ
2.กนั้นึงดำเนินการค้นหาคำทุกคำที่อยู่หลัง NOT
3.จะไปหาคำที่อยู่ระหว่าง AND ทั้งหมด รวมถึงคำที่อยู่ใกล้กันแต่ไม่มีAND เชื่อมด้วย
4.ขั้นสุดท้ายะทำการค้นหาคำที่อยู่ระหว่าง OR ทั้งหมด
คอมพิวเตอร์
หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
1. หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ได้แก่
- แป้นอักขระ
-แผ่นซีดี
-ไมโครโฟน
2. หน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่คำนวณตรรกยะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ไดจากการประมวลผลแล้ว เพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น (โมเด็ม) แผนวงรเชื่อมต่อเครือข่าย
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง
2.มีประสิทธิภาพในการทำงาน
3.มีความถูกต้องแม่นยำ
4.เก็บข้อมูลได้มาก
5.โอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความ
ประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี
องประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.ฮาร์ดแวร์
2.ซอฟต์แวร์
3.ข้อมูล
4.บุคลากร
ฮาร์ดแวร์
หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้
1.ส่วนประมวลผล CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์เปรียบเสมือนสมอง ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูล
2.ส่วนความจำ มี 3 ประเภท
-หน่วยความจำหลัก เช่น แรม กับ รอม
-หน่วยความจำสำรอง
-หน่วยเก็บข้อมูล
3.ส่วนรับเข้าและส่งออก
4.ส่วนเก็บข้อมูล
หน่วยความจำหลักแบ่งได้ 2 ประเภท
1.แรม RAM (Ramdom Access Memory) เป็นความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล เรียกว่า หน่วยความจำลบเลือนได้
2.รอม ROM (Read Only Memory) เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เรียกว่า หน่วยความจำไม่ลบเลือน
หน่วยความจำสำรอง
มีไว้สำรองหรือทำงานกับข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่ สามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น แผ่นบันทึก จานบันทึกแบบแข็ง แผ่นซีดีรอม
หน้าที่หลักของหน่วยความจำสำรอง
1.ใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2.ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมไว้อย่างถาวร
3.ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
ช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูล เมื่อไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว เมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลในหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานครั้งต่อไป
หน่วยแสดงผลข้อมูล
คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราเข้าใจได้
อุปกรณ์ที่แสดงผล ได้แก่
1.จอภาพ
2.เครื่องพิมพ์
3.เครื่องพิมพ์ภาพ
4.ลำโพง
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
หมายถึง คนที่มีความรู้ในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจมีคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1.ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบ
2.ฝ่ายเกี่ยวกับดปรแกรม
3.ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1.หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์
2.หัวหน้าฝ่ายวเเคราะห์ระบบและวางแผนระบบงาน
3.โปรแกรมเมอร์
4.ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5.พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
-นักวิเคราะห์ระบบงาน
-วิศวกรรมระบบ
-พนักงานปฏิบัติการ
บุคลากรอาจแบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1.ผู้จัดการระบบ คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์
2.นักวิเคราะห์ระบบ คือ ผู้ศึกษาาระบบงานเดิมหรืองานใหม่
3.โปรแกรทเมอร์ คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงาน
4.ผู้ใช้ คือ ผู้ใช้คิมพิวเตอร็ทั่วไป
ซอฟต์แวร์
คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานด้วยสื่อหลายชนิด
หน้ที่ของซอฟต์แวร์
เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์ เราไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
ประเภทซอฟต์แวร์ มี 3ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3.ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
คือโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ
หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้อักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพ
2.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก
3.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ
4.ใช้เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกว่า โอเอสเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องนิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี
1.ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามาแล้ว การใช้งานจึงเป็นตัวอักษร ดอส เป็นที่รู้จักกันในหมู่
ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันมีการใช้น้อยมาก
2.วินโดวส์ เป็นระบบที่พัฒนามาจากดอส ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์แทนคีร์บอร์ด วินโดวส์ทำ
งานได้หลายอย่างพร้อมกัน อยู่คนละขอบหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานใช้รูปแบบกราฟิก ผู้ใช้
สามารถใช้เมาส์เลื่อนเพื่อชี้ตำแหน่งให้ทำงานง่ายขึ้น เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด ใช้ร่วมกันหลายๆงาน
ที่เรียกว่าระบบหลายภารกิจ
3.ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์
4.ลีนุกส์ เป็นระบบที่พัฒนามาจากยูนิกส์ มีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนา
นิยมใช้มากในปัจจุบัน สามารถทำงานได้บน cpu
5.แมคอินทอส เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก
ออกแบบจัดแต่งเอกสารเป็นต้น
ชนิดของ
ระบบปฏิบัติการ แบ่งเป็น 3 ชนิด
1.ประเภทใช้งานเดียว กำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่าง
ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันได้หลายงานในขณะเดียวกันได้ ผู้ใช้
สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น UNIX
3.ประเภทการใช้งานหลายคน ใช้คอมพิวเตอรืขนาดใหญ่ มำหน้าที่ประมวลผล เช่น ระบบปฏิบัติ
การ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆตามที่ผู้ใช้ต้องการ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ที่ที่พัฒนาขึ้นเองโดยเฉพาะ
2.ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทั่วไป
แบ่งตามกลุ่มใช้งาน ได้ 3 ประเภท
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถุกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและบันทึกนัดหมายต่างๆตัวอย่าง เช่น
-โปรแกรมประมวลคำ เช่น Microsoft Word
-โปรแกรมตารางคำนวน เช่น Microsoft Excel
-โปรแกรมนำเสนองาน เช่น Microsoft Powerpoint
กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมิเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมงานออกแบบ เช่น Microsoft Visio Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ เช่น CoreIDRAW , Adobe Photoshop
-โปรแกรมติดต่อวีดีโอและเสียง เช่น Adobe Premiere
-โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมิเดีย เช่น Adobe Authoware
-โปรแกรมสร้างเว็บ เช่น Adobe Flash
กลุ่มการใช้งานบนเว้บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น ดปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่าง เช่น
-โปรแกรมจัดการอีเมล เช่น Microsoft Outlook
-โปรแกรมท่องเว็บ เช่น Microsoft Internet Explorer
-โปรแกรมประชุมทางไกล เช่น Video Conference
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน เช่น Instant Messaging
-โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต เช่น PIRCH และ MIRCH
ความจำเป็นขิงการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้ากันได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากมาย เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดั่งกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณมางคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนูษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จะเป็นต้องมีสื่อกลาง ปัจจุบันเรามีภาษาที่ใช้ติดต่อซึ่งกันและกัน เราเรียกสื่อกลางนี้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยเลข 0 และ 1 ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสอง คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีจข้อยุ่งยากมากมาย เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอรืแบบตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2ถัดจากภาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นที่ต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า อแสเซมเบเลอ
ภาษาระดับสูง
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statments ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอรืทำงานง่ายขึ้น
ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่อง มี 2ชนิด
1. คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน
แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
2. อินเทอร์พลีเดอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงนำ
มาทำการแปลการคำสั่ง
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จำแนกหน้าที่
ออกเป็น 4 ส่วน คือ
1.1หน่วยรับข้อมูล
1.2หน่วยประมวลผลกลาง
1.3หน่วยแสดงผลข้อมูล
1.4หน่วยความจำสำรอง
2.เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
2.มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน
3.ทำให้เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อประเทศไทย
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบันมี 6 รูปแบบ
1.เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ ดาวเทียม
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อข้อมูลบันทึกต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก
3.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ
4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
5.เทคโนโลยที่ใช้ในการจัดทำใส่สำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เช่น ระบบโทรคมนาคม
วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
1.เพื่อทราบถึงรายละเอียดข้อมูล
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานหรือการศึกษา
3.เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
4.เพื่อตรวจสอบข้อมูล
5.เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
Search Engine
หมายถึง เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆในระบบเครือข่าย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
ประเภทของ Search Engine
1.อินเด็กเซอร์ (Indexers) การทำงาน จะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่อยู่กระจัดกระจายบนอินเทอร์เน็ต
ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนกับการสืบค้นข้อมูล
จากรากฐานข้อมูลอื่นๆ
2.ไดแร็กทอรี่ (Directories) การค้นหาข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย โดยข้อมูลต่างๆ จะถูกคัด
แยกออกมาเป็นหมวดหมู่และจัดแบ่งแยกเว็บไซต์ต่างๆออกเป็นประเภทๆ
3.เมตะเสิร์ช (Search Engine) ใช้ได้หลายวิธีการมาช่วยในการค้นคว้าข้อมูล ดดยจะรับคำสั่งค้นหาจาก
เราแล้วส่งต่อไปยังเว็บไซต์
ประโยชน์ของ Search Engine
1.ใช้ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง
2.ใช้ค้นหาข้อมูลแบบเจาะลึก
เทคนิคการสืบค้นข้อมูล
1.บีบประเด็นให้แคบลง
2.การใช้คำที่ใกล้เคียง
3.การใช้คำหลัก
4.หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข
5.การใช้เครื่องหมายบวกและลบ
6.หลีกเลี่ยงภาษาพูด
7.ใช้ Advanced Search
การสืบค้นโดยใช้ตรรกบูลีน
เป็นการสืบค้นโดยใช้ตัวเชื่อม คือ
-AND เชื่อมเพื่อกำจัดความให้แคบลงด้วยการวาง AND ไว้ระหว่างคำ 2 คำ หรือ การไม่ใส่ตัวเชื่อมใดๆระหว่างคำในโปรแกรม Innopac จะมีความหมายเช่นเดียวกัน เช่น การค้นหาด้วย lobor and american ได้ผลเช่นเดียวกับ lobor american
-OR เชื่อมเพื่อขยายการค้นหาไปยังคำอื่นๆที่กำหนดหรือต้องการผลการค้นากทั้ง 2 คำ เช่น digital
collecton or digitall library
-NOT เชื่อมเพื่อำกัดการค้นหาให้แคบลง เช่น unions not credit not mcretury
ลำดับการค้นหาที่มีการใช้คำเชื่อมต่อ
1.ระบบะค้นคำที่อยู่ในวงเล็บ
2.กนั้นึงดำเนินการค้นหาคำทุกคำที่อยู่หลัง NOT
3.จะไปหาคำที่อยู่ระหว่าง AND ทั้งหมด รวมถึงคำที่อยู่ใกล้กันแต่ไม่มีAND เชื่อมด้วย
4.ขั้นสุดท้ายะทำการค้นหาคำที่อยู่ระหว่าง OR ทั้งหมด
คอมพิวเตอร์
หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
1. หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ได้แก่
- แป้นอักขระ
-แผ่นซีดี
-ไมโครโฟน
2. หน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่คำนวณตรรกยะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ไดจากการประมวลผลแล้ว เพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น (โมเด็ม) แผนวงรเชื่อมต่อเครือข่าย
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง
2.มีประสิทธิภาพในการทำงาน
3.มีความถูกต้องแม่นยำ
4.เก็บข้อมูลได้มาก
5.โอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความ
ประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี
องประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.ฮาร์ดแวร์
2.ซอฟต์แวร์
3.ข้อมูล
4.บุคลากร
ฮาร์ดแวร์
หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้
1.ส่วนประมวลผล CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์เปรียบเสมือนสมอง ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูล
2.ส่วนความจำ มี 3 ประเภท
-หน่วยความจำหลัก เช่น แรม กับ รอม
-หน่วยความจำสำรอง
-หน่วยเก็บข้อมูล
3.ส่วนรับเข้าและส่งออก
4.ส่วนเก็บข้อมูล
หน่วยความจำหลักแบ่งได้ 2 ประเภท
1.แรม RAM (Ramdom Access Memory) เป็นความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล เรียกว่า หน่วยความจำลบเลือนได้
2.รอม ROM (Read Only Memory) เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เรียกว่า หน่วยความจำไม่ลบเลือน
หน่วยความจำสำรอง
มีไว้สำรองหรือทำงานกับข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่ สามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น แผ่นบันทึก จานบันทึกแบบแข็ง แผ่นซีดีรอม
หน้าที่หลักของหน่วยความจำสำรอง
1.ใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2.ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมไว้อย่างถาวร
3.ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
ช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูล เมื่อไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว เมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลในหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานครั้งต่อไป
หน่วยแสดงผลข้อมูล
คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราเข้าใจได้
อุปกรณ์ที่แสดงผล ได้แก่
1.จอภาพ
2.เครื่องพิมพ์
3.เครื่องพิมพ์ภาพ
4.ลำโพง
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
หมายถึง คนที่มีความรู้ในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจมีคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1.ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบ
2.ฝ่ายเกี่ยวกับดปรแกรม
3.ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1.หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์
2.หัวหน้าฝ่ายวเเคราะห์ระบบและวางแผนระบบงาน
3.โปรแกรมเมอร์
4.ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5.พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
-นักวิเคราะห์ระบบงาน
-วิศวกรรมระบบ
-พนักงานปฏิบัติการ
บุคลากรอาจแบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1.ผู้จัดการระบบ คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์
2.นักวิเคราะห์ระบบ คือ ผู้ศึกษาาระบบงานเดิมหรืองานใหม่
3.โปรแกรทเมอร์ คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงาน
4.ผู้ใช้ คือ ผู้ใช้คิมพิวเตอร็ทั่วไป
ซอฟต์แวร์
คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานด้วยสื่อหลายชนิด
หน้ที่ของซอฟต์แวร์
เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์ เราไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
ประเภทซอฟต์แวร์ มี 3ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3.ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
คือโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ
หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้อักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพ
2.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก
3.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ
4.ใช้เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกว่า โอเอสเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องนิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี
1.ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามาแล้ว การใช้งานจึงเป็นตัวอักษร ดอส เป็นที่รู้จักกันในหมู่
ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันมีการใช้น้อยมาก
2.วินโดวส์ เป็นระบบที่พัฒนามาจากดอส ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์แทนคีร์บอร์ด วินโดวส์ทำ
งานได้หลายอย่างพร้อมกัน อยู่คนละขอบหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานใช้รูปแบบกราฟิก ผู้ใช้
สามารถใช้เมาส์เลื่อนเพื่อชี้ตำแหน่งให้ทำงานง่ายขึ้น เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด ใช้ร่วมกันหลายๆงาน
ที่เรียกว่าระบบหลายภารกิจ
3.ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์
4.ลีนุกส์ เป็นระบบที่พัฒนามาจากยูนิกส์ มีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนา
นิยมใช้มากในปัจจุบัน สามารถทำงานได้บน cpu
5.แมคอินทอส เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก
ออกแบบจัดแต่งเอกสารเป็นต้น
ชนิดของ
ระบบปฏิบัติการ แบ่งเป็น 3 ชนิด
1.ประเภทใช้งานเดียว กำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่าง
ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันได้หลายงานในขณะเดียวกันได้ ผู้ใช้
สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น UNIX
3.ประเภทการใช้งานหลายคน ใช้คอมพิวเตอรืขนาดใหญ่ มำหน้าที่ประมวลผล เช่น ระบบปฏิบัติ
การ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆตามที่ผู้ใช้ต้องการ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ที่ที่พัฒนาขึ้นเองโดยเฉพาะ
2.ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทั่วไป
แบ่งตามกลุ่มใช้งาน ได้ 3 ประเภท
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถุกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและบันทึกนัดหมายต่างๆตัวอย่าง เช่น
-โปรแกรมประมวลคำ เช่น Microsoft Word
-โปรแกรมตารางคำนวน เช่น Microsoft Excel
-โปรแกรมนำเสนองาน เช่น Microsoft Powerpoint
กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมิเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมงานออกแบบ เช่น Microsoft Visio Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ เช่น CoreIDRAW , Adobe Photoshop
-โปรแกรมติดต่อวีดีโอและเสียง เช่น Adobe Premiere
-โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมิเดีย เช่น Adobe Authoware
-โปรแกรมสร้างเว็บ เช่น Adobe Flash
กลุ่มการใช้งานบนเว้บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น ดปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่าง เช่น
-โปรแกรมจัดการอีเมล เช่น Microsoft Outlook
-โปรแกรมท่องเว็บ เช่น Microsoft Internet Explorer
-โปรแกรมประชุมทางไกล เช่น Video Conference
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน เช่น Instant Messaging
-โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต เช่น PIRCH และ MIRCH
ความจำเป็นขิงการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้ากันได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากมาย เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดั่งกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณมางคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนูษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จะเป็นต้องมีสื่อกลาง ปัจจุบันเรามีภาษาที่ใช้ติดต่อซึ่งกันและกัน เราเรียกสื่อกลางนี้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยเลข 0 และ 1 ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสอง คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีจข้อยุ่งยากมากมาย เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอรืแบบตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2ถัดจากภาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นที่ต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า อแสเซมเบเลอ
ภาษาระดับสูง
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statments ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอรืทำงานง่ายขึ้น
ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่อง มี 2ชนิด
1. คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน
แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
2. อินเทอร์พลีเดอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงนำ
มาทำการแปลการคำสั่ง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)